เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา2/2557 Topic: i know i understand "ฉันรู้ ฉันเข้าใจ"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆและวิธีการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ทักษะ :
การแสวงข้อมูล /การคิด / จัดการข้อมูล / การนำเสนอ
คุณลักษณะ :
มีเป้าหมายในการเรียนรู้ / แรงบันดาลใจ / เอื้อเฟื้อข้อมูล

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)




ภูมิหลังของปัญหา เนื่องจากในปัจจุบันมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายรูปแบบ  ซึ่งในแต่ละรูปแบบจะมีข้อดี และ ข้อด้อยแตกต่างกันไป บ้างก็สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ทุกเนื้อหาสาระแต่ยังไม่สามารถ นำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้โดยการท่องจำ เพียงเพื่อนำไปใช้สำหรับการสอบแข่งขันเท่านั้น ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพด้านความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลของผู้เรียนเอง อาทิเช่น การวิเคราะห์และให้เหตุผลต่อข้อมูลหรือการอภิปรายร่วมกับผู้อื่น ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนได้มีรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายวิธีเพิ่มมากขึ้น เกิดทักษะและคุณลักษณะของผู้จัดกระทำชุดความรู้ได้ด้วยตนเอง   จึงถือเป็นโอกาสดีที่จะได้จัดกระบวนการเรียนรู้แบบ เปิดหนังสือ (Open book ) ควบคู่กับการเรียนรู้แบบบูรณาการ (PBL)  เพื่อความเข้าใจในกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ และการนำไปปรับใช้ได้โดยแท้จริง


เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding Goals)  
ความรู้ เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆและวิธีการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ทักษะ การแสวงข้อมูล /การคิด / จัดการข้อมูล การนำเสนอ 
คุณลักษณะ : มีเป้าหมายในการเรียนรู้ / แรงบันดาลใจ เอื้อเฟื้อข้อมูล 

คำถามหลัก (ฺBig question)  : -  ทำไมจึงต้องมีการจัดการความรู้ทั้งชุด ?
                                                 เราจะจัดการชุดข้อมูลได้อย่างไร ?
โมเดลการจัดกระบวนการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้  

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.2
2.1
2.2
5.1
8.1
วิทยาศาสตร์
- การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
- หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA) - ความหลากหลายทางชีวภาพ
- สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซม
ที่มีหน่วยพันธุกรรม  หรือยีนในนิวเคลียส
(ว1.2 ม.3/1)
 - อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม(ว1.2 ม.3/2)
- อภิปรายโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว1.2 ม.3/3)
- สำรวจและอธิบายความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ในท้องถิ่น
ที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ว1.2 ม.3/4)
- อธิบายผลของความ
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆ ในท้องถิ่นและอธิบาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ  (ว2.1 ม.3/1)
- อธิบาย วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรคาร์บอน และความสำคัญที่มีต่อระบบนิเวศ (ว2.1 ม.3/2)
- อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร  ในระบบนิเวศ
(ว2.1 ม.3/3)
- วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
(ว2.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม  ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการ แก้ไขปัญหา (ว2.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ  ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง(ว2.2 ม.3/2)
- อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อม และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(ว2.2 ม.3/3)
- อภิปราย    และมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์    สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ว2.2 ม.3/4)
- อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ (ว2.2 ม.3/5)
- อภิปรายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(ว2.2 ม.3/6)
- อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว5.1 ม.3/1)

- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปร
ที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้(ว8.1 ม.3/1)
- สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
(ว8.1 ม.3/2)
- เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบ
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม(ว8.1 ม.3/3)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ว8.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์และประเมิน ความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ(ว8.1 ม.3/5)
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ  ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ
(ว8.1 ม.3/6)

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.2
8.1

หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ สัตว์  พืช และสิ่งแวดล้อม (ว1.2 ม.3/5)

- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้  ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1 ม.3/7)
- อธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ   ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ  เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม (ว8.1 ม.3/8)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว8.1 ม.3/9)
วิทยาศาสตร์
- กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง

4.1
4.2
5.1
8.1
 - อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ
(ว4.1 ม.3/1)
- ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ระหว่างวัตถุ  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว4.1 ม.3/2)
 - ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ (ว4.1 ม.3/3)
- ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว4.2 ม.3/1)
 - ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
 (ว4.2 ม.3/2)
 -  สังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็น    แนวตรง และแนวโค้ง (ว4.2 ม.3/3)
- อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว5.1 ม.3/1)

- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้ (ว8.1 ม.3/1)
- สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี (ว8.1 ม.3/2)
- เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม (ว8.1 ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
2.2
3.1
3.2
    สังคมศึกษา
- ระบบการปกครอง
- หน้าที่พลเมือง

-  อธิบายระบอบ การปกครอง แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน    (ส2..2 ม.3/1)
- วิเคราะห์เปรียบเทียบระบอบ การปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ 
 ที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
(ส2..2 ม.3/2)
- วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (ส2..2 ม.3/3)
- วิเคราะห์ประเด็นปัญหา   ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข (ส2..2 ม.3/4)
- อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
(ส3.1 ม.3/1)
- มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น (ส3.1  ม.3/2)
- อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ
(ส3.2   ม.3/1)
- แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อบุคคล กลุ่มคนและประเทศชาติ (ส3.2   ม.3/2)
- อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (ส3.2   ม.3/3)
-  อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด
(ส3.2   ม.3/4)
- วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา
(ส3.2   ม.3/5)
- วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ( ส3.2   ม.3/6)
   ประวัติศาสตร์
- ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
- ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์

4.1
4.3
- ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ (ส4.1  ม.3/1)
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1  ม.3/2)
- เห็นความสำคัญของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่น่าเชื่อถือ (ส4.2  ม.3/3)

วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์  ในด้านต่างๆ  (ส4.3  ม.3/1)
-  วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(4.3  ม.3/2)
- วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพล   ต่อการพัฒนาชาติไทย (4.3  ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
2.1
สุขศึกษาและพลศึกษา
- การส่งเสริมสุขภาพ
- อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง
- สื่อโฆษณา
- การวางแผนการดำเนินชีวิต
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(พ1.1 ม.3/1)
-  วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น (พ1.1 ม.3/2)
-วิเคราะห์ สื่อ  โฆษณา  ที่มีอิทธิพล ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น  (พ1.1 ม.3/3)

- อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม(พ2.1 ม.3/1)
-  วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ  การตั้งครรภ์ (พ2.1 ม.3/2)
- วิเคราะห์สาเหตุ  และเสนอแนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว (พ2.1 ม.3/3)

- การเล่นเกมและกีฬาที่ถูกต้องตามกฎกติกา
- วางแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ


3.1
3.2
4.1
-  เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล  ได้อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม (พ3.1 ม.3/1)
-นำหลักการ  ความรู้และทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย  การเล่นเกม     และการเล่นกีฬาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  เป็นระบบ (พ3.1 ม.3/2)
-ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1กิจกรรม  และนำหลักความรู้วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับผู้อื่น (พ3.1 ม.3/3)
- มีมารยาทในการเล่นและดูกีฬาด้วยความมีน้ำใจนักกีฬา (พ3.2 ม.3/1)
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและนำแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนด้วยความภาคภูมิใจ (พ3.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติตนตามกฎ  กติกา  และข้อตกลง  ในการเล่นตามชนิดกีฬาที่เลือกและนำแนวคิด ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคมจำแนกกลวิธีการรุก  (พ3.2 ม.3/3)
 
- การป้องกัน  และใช้ในการเล่นกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ตามสถานการณ์  ของการเล่น (พ3.2 ม.3/4)
- เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาเป็นประจำ (พ3.2 ม.3/5)
- วางแผนและจัดเวลา ในการ ออกกำลังกาย  การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพ    ทางกาย
(พ4.1 ม.3/1)
-  ทดสอบสมรรถภาพทางกาย  และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล (พ4.1 ม.3/2)


สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
1.2
2.1
3.1
3.2
ศิลปศึกษา
- ทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- ดนตรี
- นาฏศิลป์



 - บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (ศ1.1 ม.3/1)
- ระบุ และบรรยายเทคนิค  วิธีการของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์(ศ1.1 ม.3/2)
-. วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงาน   ทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ (ศ1.1 ม.3/3)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓  ประเภท (ศ1.1 ม.3/4)
- มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ (ศ1.1 ม.3/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ (ศ1.1 ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (ศ1.1 ม.3/7)
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์(ศ1.2 ม.3/1)
ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล
(ศ1.2 ม.3/2)


- เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น  (ศ2.1 ม.3/1)
- ร้องเพลง  เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง
(ศ2.1 ม.3/2)
- แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ
(ศ2.1 ม.3/3)
- อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง(ศ2.1 ม.3/4)
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น  
(ศ2.1 ม.3/5)                
- อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม (ศ2.1 ม.3/6)
-นำเสนอ หรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการ บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ
(ศ2.1 ม.3/7)


- ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร
 (ศ3.1 .3/1)
-ใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิต ประจำวันและในการแสดง
 (ศ3.1 .3/2)
- มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง
(ศ3.1 .3/3)
- มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง
(ศ3.1 .3/4)
- วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ (ศ3.1 .3/5)
- ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ
(ศ3.1 .3/6)

- ออกแบบ และสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และการละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
(ศ3.2 ม.3/1)
- อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจำวัน (ศ3.2 ม.3/2)
- แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ (ศ3.2 ม.3/3)


สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
3.1

-  วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน (ศ1.1 ม.3/8)
-สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย     เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย
(ศ1.1 ม.3/9)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนำไป
ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน (ศ3.1 .3/7)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ขั้นตอนการสร้างชิ้นงาน
1.1
3.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม (ง1.1 ม.3/2)
- อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะ การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม (ง1.1 ม.3/3)
-ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำใน (ง3.1 ม.3/1)
ชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
 (ง3.1 ม.3/2)

หน้าที่พลเมือง

- สามารถแสดงออก แนะนำผู้อื่น และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อ
 เผื่อแผ่ และ เสียสละ (1.1 ม.3/2)
- ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี-ประชาธิปไตย  (3.1 ม.3/6)
- มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ ในการตัดสินใจตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบ การทำหน้าที่ของบุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ (3.2 ม.3/7)
- เห็นคุณค่า ของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกัน
และกัน (
4.1 ม.3/8)

 สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
                 



ปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้


Week
input
Process
Output
Outcome




1
โจทย์
 - การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
- หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA) - ความหลากหลายทางชีวภาพ
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าหากมีการแต่งงานกันเองภายในกลุ่มเครือญาติ ลูกที่เกิดมาจะมีลักษณะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และความ
หลากหลายทางชีวภาพ
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับมุมมองแนวคิด ต่อรายการ คนค้นคน ตอนกันกับกี้

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- รายการ คนค้นคน ตอนกันกับกี้
 - ใบงาน ระบบการทำงานของหน่วยย่อยพื้นฐานของพันธุกรรม โครโมโซม DNA และ RNA
- นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอย่างไร?
- จับฉลากแบ่งกลุ่ม
- จับฉลากเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา ดังนี้ ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น ,โรคทางพันธุกรรม , หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA) ความหลากหลายทางชีวภาพ
- สืบค้นข้อมูลในหัวข้อที่ได้รับและนำเสนอ
- นักเรียนคิดว่าหากมีการแต่งงานกันเองภายในกลุ่มเครือญาติ ลูกที่เกิดมาจะมีลักษณะเป็นอย่างไร
- ดูรายการ คนค้นคน ตอนกันกับกี้
- ร่วมพูดคุยและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ และถ่ายทอดในรูปแบบที่สนใจ  อาทิเช่น Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ
 - วิเคราะห์ใบงาน/สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลในหัวข้อต่างๆ อาทิเช่น ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น ,โรคทางพันธุกรรม , หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)
- การนำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับมุมมองแนวคิด ต่อรายการ คนค้นคน ตอนกันกับกี้
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ และถ่ายทอดในรูปแบบที่สนใจ  อาทิเช่น Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ
 - อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับใบงานเพื่อสร้างความเข้าใจ

 ชิ้นงาน
- Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ สิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ
- ใบงานระบบการทำงานของหน่วยย่อยพื้นฐานของพันธุกรรม โครโมโซม DNA และ RNA
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางชีวภาพ

ทักษะ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- การนำเสนอข้อมูลที่สำคัญอย่างเป็นลำดับและเห็นความเชื่อมโยงของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางชีวภาพ
- การคิดวิเคราะห์เรื่องที่ได้ดูรายการ คนค้นคน ตอนกันกับกี้ และเชื่อมโยงกับการใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- การแบ่งบทบาทหน้าที่ในการวางแผนกระบวนการทำงาน
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

jh[j""""""""""
Week
input
Process
Output
Outcome




2


โจทย์
- สารและสมบัติของสาร
- พลังงาน
- สมการเคมี 
- การแยกสาร
Key  Questions
 - นักเรียนคิดว่าวัสดุ ทั้ง 5 ชนิด ประกอบด้วย ยาง  เหล็ก หมากฝรั่ง
ขดลวดทองแดง ปลอกสายไฟ  ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรอย่างไร
-  นักเรียนคิดว่า การแยกสารในรูปแบบต่างๆมีคุณสมบัติแตกต่าง หรือมีข้อจำกัดอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าพลังงานสามารถเกิดขึ้นได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าสารหรือสสารสามารถเกิดขึ้นหรือสลายหายไปได้หรือไม่เพราะเหตุใด

เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น เกี่ยวกับการคุณสมบัติของสาร ปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เกิดพลังงาน และการแยกสารในรูปแบบที่หลากหลาย
- นำเสนอเกี่ยวกับผลการทดลองและข้อจำกัดของกระบวนการแยกสารในประเภทต่างๆ รวมถึงการเกิดพลังงาน
- นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของสสาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อุปกรณ์การแยกสาร
- ใบงานสสารและสมบัติของสาร
 - นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอย่างไร?
- จับฉลากแบ่งกลุ่ม
- ร่วมวิเคราะห์และสังเกตวัสดุ 5 ชนิด
ยาง (ยางยืดและ ยางไม้),เหล็ก (แท่งเหล็กขนาดเล็ก),หมากฝรั่ง  ,ขดลวดทองแดง ,ปลอกสายไฟ
- “จากการสังเกตนักเรียนคิดว่าวัสดุ ทั้ง 5 ชนิด มีคุณสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรอย่างไร?”
- ฉลากแบ่งกลุ่ม
- จับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้ สารและสมบัติของสาร , พลังงาน, สมการเคมี  , การแยกสาร
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอในหัวข้อที่ได้รับ
- ร่วมทดลองและวิเคราะห์การแยกสารในรูปแบบ
- นักเรียนคิดว่า การแยกสารในรูปแบบต่างๆมีคุณสมบัติแตกต่าง หรือมีข้อจำกัดอย่างไร?”
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนคิดว่าพลังงานสามารถเกิดขึ้นได้อย่างไร?”
 นักเรียนคิดว่าสารหรือสสารสามารถเกิดขึ้นหรือสลายหายไปได้หรือไม่เพราะเหตุใด?“
- อภิปรายร่วมกัน
 - วิเคราะห์ใบงานเกี่ยวกับสสารและสมบัติของสาร
ภาระงาน
 - วิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุ 5 ชนิด
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของสาร ปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เกิดพลังงาน และการแยกสารในรูปแบบต่างๆ
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้น และร่วมทดลองการแยกสารในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น  การกรอง การระเหย การตกผลึก และ โครมาโตรกราฟี 
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ และถ่ายทอดในรูปแบบที่สนใจ  อาทิเช่น Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ
 - วิเคราะห์และอภิปรายใบงานเกี่ยวกับสสารและสมบัติของสาร

ชิ้นงาน
- Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
 - คุณสมบัติของสาร เช่น การนำความร้อง การนไฟฟ้า  ความแข็ง ความยืดหยุ่น
 - ปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เกิดพลังงาน
 - การแยกสารในรูปแบบที่หลากหลายและข้อจำกัดในคุณสมบัติต่างๆ

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับลักษณะเด่นของสารต่างๆและปฏิกิริยาและพลังงานที่เกิดขึ้น
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องแรงและการเคลื่อนที่
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน


Week
input
Process
Output
Outcome




3

โจทย์
- กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง
Key  Questions
 - จากการทดลองดึงกระสอบทรายนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าน้ำช่วยให้เกิดไฟฟ้าได้อย่างไร และเกี่ยวข้องกับแรงหรือไม่อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าหากเราถือลูกโป่งสวรรค์อยู่ภายในรถ เมื่อรถเบรกลูกโป่งนี้จะเคลื่อนที่ไปด้านใดเพราะเหตุใด

เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดแรงกับวัตถุ ในขณะหยุดนิ่งและเคลื่อนที่

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- อุปกรณ์การทดลองเรื่องแรง
- ลูกโป่งสวรรค์
- ใบงานแรงและการเคลื่อนที่
- ทดลองดึงกระสอบทราย
- จากการทดลองดึงกระสอบทรายนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
- นำเสนอความคิดเห็น และบันทึกผลลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- จับฉลากแบ่งกลุ่มๆและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้ กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)   แรงลัพธ์แรงเสียดทาน   , แรงพยุง
-  สืบค้นและน้ำเสนอข้อมูลผ่านการทดลองจริง
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นและผลการทดลองของแต่ละกลุ่ม
- นักเรียนคิดว่าน้ำช่วยให้เกิดไฟฟ้าได้อย่างไร และเกี่ยวข้องกับแรงหรือไม่อย่างไร?”
- ร่วมนำเสนอความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนคิดว่าหากเราถือลูกโป่งสวรรค์อยู่ภายในรถ เมื่อรถเบรกลูกโป่งนี้จะเคลื่อนที่ไปด้านใดเพราะเหตุใด?”
-ร่วมทดลองและอภิปรายร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ และถ่ายทอดในรูปแบบที่สนใจ 
 - วิเคราะห์ใบงานเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - ทดลองวิเคราะห์ผลการทดลองดึงกระสอยทราย
 - สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการเกิดแรงแรงและการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่างๆ
 - นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้น และร่วมทดลองการเคลื่อนที่และการเกิดแรงรูปแบบต่างๆ
- วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของลูกโป่ง
 - สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกระบวนการต่างๆ และถ่ายทอดในรูปแบบที่สนใจ  อาทิเช่น Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ
 - วิเคราะห์และอภิปรายใบงานเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่

ชิ้นงาน
- Flow Chart  ภาพเรื่องราว การ์ตูนช่อง ฯลฯ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- ใบงานแรงและการเคลื่อนที่
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
(บันทึกผลการทดลอง)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
 - กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
- แรงลัพธ์
- แรงเสียดทาน
- แรงพยุง

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับคุณสมบัติการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ รวมถึงการเกิดแรง
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องแรงและการเคลื่อนที่
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน


Week
input
Process
Output
Outcome





โจทย์
- ระบบการปกครอง
- หน้าที่พลเมือง

Key  Questions
- ระบบการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบันตามทัศนะคติของนักเรียนเป็นอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าแต่ละเรื่องที่ทุกกลุ่มนำเสนอมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอทัศนะคติเกี่ยวกับระบบการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบันและความเกี่ยวข้องของระบบการปกครอง และหน้าที่พลเมืองของประชนในประเทศไทย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ภาพการ์ตูนสะท้อนการเมืองไทย
-ระบบการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบันตามทัศนะคติของนักเรียนเป็นอย่างไร?”
-  นักเรียนถ่ายทอดทัศนะคติของตนเองในรูปแบบภาพวาด ลงในกระดาษ ครึ่ง A4
- ครูแจกภาพ (ถ่ายทอดทัศนะคติของประชาชนทั่วประเทศที่มีต่อการปกครองของประเทศไทย) คนละ 1 ภาพ
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์และเขียนบทความสั้นๆ แสดงสิ่งที่ได้ภาพที่เห็น
- ร่วมพูดคุยเกี่ยวกับระบบการปกครองของประเทศไทยในปัจจุบันและสิ่งที่ได้จากทัศนะคติและมุมมองของแต่ละคน
- นักเรียนจับฉลากและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้   ระบบการปกครองของไทย     
หน้าที่พลเมืองของไทย
-  สืบค้นข้อมูลและนำเสนอในหัวข้อที่ได้รับ
- ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้น โดยกำหนดให้นำเสนอ ในรูปแบบภาพวาด Timeline
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
- นักเรียนคิดว่าแต่ละเรื่องที่ทุกกลุ่มนำเสนอมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมนำเสนอความคิดเห็น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - วิเคราะห์และวาดภาพแสดงทัศนคติของตนเองต่อการปกครองของประเทศไทย
 - สืบค้นและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับระบบการปกครอง ประวัติศาสตร์ และระบบเศรษฐศาสตร์ของไทย
 - วิเคราะห์ความเชื่อมโยงของระบบการปกครอง ประวัติศาสตร์ และระบบเศรษฐศาสตร์ของไทย
 
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- บทความและภาพวาดทัศนคติของตนเองต่อการปกครองของประเทศไทย
- ภาพวาด Timeline แสดงข้อมูล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
ความเชื่อมโยงของระบบการปกครอง และหน้าที่พลเมืองของประชนในประเทศไทย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับระบบการปกครอง และหน้าที่พลเมืองของประชนในประเทศไทย ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบ Timeline
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

Week
input
Process
Output
Outcome




5

โจทย์
- ระบบเศรษฐศาสตร์
- ระบบเศรษฐกิจ

Key  Question
นักเรียนคิดว่าระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันมีความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐศาสตร์ในประเทศนั้นอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันกับระบบเศรษฐศาสตร์ที่เกิดขึ้น

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- บทความ เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
- ภาพโรงงานอุตสาหกรรม
- ภาพรถยนต์มีผู้โดยสารเต็มคันรถ
 - ภาพห้างสรรพสินค้า
- ภาพโรงพยาบาลมีแพทย์รักษาคนไข้
- ภาพอาคารประเภทต่าง ๆ
- ภาพร้านอาหารมีคนนั่งกินอาหาร
- ใบงาน ระบบเศรษฐกิจ และ กลไกราคา
- วิเคราะห์บทความ เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน(เรื่องแตกต่างกัน)
- นักเรียนจับฉลากและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้   กลไกราคากับระบบเศรษฐกิจ (อุปสงค์ , อุปทาน ,ดุลยภาพ )   ,เศรษฐกิจระหว่างประเทศ  ,ภาวะเงินฝืด เงินเฟ้อ  , สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ
-  สืบค้นข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
- อภิปรายร่วมกัน
 - เล่นเกม อุปสงค์  อุปทาน และอภิปรายร่วมกัน
-
นักเรียนคิดว่าระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันมีความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐศาสตร์ในประเทศนั้นอย่างไร?”
- จับฉลากแบ่งกลุ่มๆละเท่าๆกันและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้   ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม , ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์  ,ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม , ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
-  สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ
-อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
- วิเคราะห์ใบงานเกี่ยวกับ ระบบเศรษฐกิจ และ กลไกราคาให้นักเรียนแต่ละคน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - วิเคราะห์บทความ เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ หัวข้อต่างๆที่ได้รับ อาทิเช่น กลไกราคากับระบบเศรษฐกิจ (อุปสงค์ , อุปทาน ,ดุลยภาพ )   ,เศรษฐกิจระหว่างประเทศ  ,ภาวะเงินฝืด เงิน
- เล่นเกมและร่วมวิเคราะห์เกมอุปสงค์  อุปทาน
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจประเภทต่างๆ
- วิเคราะห์ใบงาน เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและ กลไกราคา

 ชิ้นงาน
- ชิ้นงานนำเสนอระบบเศรษฐกิจประเภทต่างๆ
- ชิ้นงานนำเสนอระบบเศรษฐศาสตร์
- ใบงานเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ และ กลไกราคา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- ระบบเศรษฐกิจประเภทต่างๆ
- ความเชื่อมโยงระหว่าระบบเศรษฐกิจกับระบบเศรษฐศาสตร์

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจประเภทต่างๆ
และความเชื่อมโยงระหว่าระบบเศรษฐกิจกับระบบเศรษฐศาสตร์
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบต่างๆที่แต่ละกลุ่มสนใจ
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

Week
input
Process
Output
Outcome




      6
โจทย์
- ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
- ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์
Key  Question
- นักโบราณคดี ทราบได้อย่างไรว่าสิ่งของที่ขุดค้นพบ มีอายุเท่าไร และเกิดขึ้นในยุคสมัยใด
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีทางประวัติศาสตร์ของนักโบราณคดี
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบัน


ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปรายการ ศิลปะตามยุคสมัย
- ใบงาน ยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์
- ดูรายการ ศิลปะตามยุคสมัย
- “นักเรียนคิดว่าแนวคิดและศิลปะของคนในสมัยประวัติศาสตร์มีลักษณะเป็นอย่างไร?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักโบราณคดี ทราบได้อย่างไรว่าสิ่งของที่ขุดค้นพบ มีอายุเท่าไร และเกิดขึ้นในยุคสมัยใด?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- จับฉลากและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้   ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์, ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันรัตนโกสินทร์
-  สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร?”
- เขียนบทความลงในกระดาษ A4
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
- วิเคราะห์ใบงานเกี่ยวกับ ยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของ กรุงรัตนโกสินทร์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปรายการ ศิลปะตามยุคสมัย
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ หัวข้อต่างๆที่ได้รับ อาทิเช่น    ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์  ,ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เขียนบทความเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบัน
- วิเคราะห์ใบงาน เกี่ยวกับยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์

 ชิ้นงาน
- ชิ้นงานนำเสนอ  ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
- ใบงานเกี่ยวกับยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์
บทความ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
 - ยุคสมัยและวิธีการหาข้อมูลต่างๆทางประวัติศาสตร์
- ลักษณะภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับ ยุคสมัยและวิธีการหาข้อมูลต่างๆทางประวัติศาสตร์   ลักษณะภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยและเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์

 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้น
ข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบต่างๆที่แต่ละกลุ่มสนใจ

คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

Week
input
Process
Output
Outcome




          7
โจทย์
- การส่งเสริมสุขภาพ
- อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง
- สื่อโฆษณา
- การวางแผนการดำเนินชีวิต
Key  Questions
- นักเรียนเลือกรับสื่อประเภทใดในการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เพราะเหตุใดจึงเลือกสื่อประเภทนี้
- นักเรียนคิดว่าการสื่อสารหรือถ่ายทอดข้อมูลจากคนหนึ่งให้กับอีกคนหนึ่ง มีปัจจัยใดบ้างเข้ามาเกี่ยวข้อง

เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิต
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีต่อการสื่อสาร
Mind Mapping
สรุปความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิต
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปรายการ “Wisdom talk ”
- เกม ต่างสื่อ ต่างสาร
- ใบงาน แสดงทัศนะคติต่อการดำเนินชีวิต การวางแผนชีวิต
- ดูคลิปรายการ “Wisdom talk ” ซึ่งเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันกับในชนบท
- ร่วมวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้ และปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิตจากคลิปรายการที่ได้ดู
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับความคิดเห็นต่างๆ
และสรุปความเชื่อมโยงที่ได้ในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนเลือกรับสื่อประเภทใดในการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เพราะเหตุใดจึงเลือกสื่อประเภทนี้?”
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถาม
- จับฉลากและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้    การส่งเสริมสุขภาพ   , อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง, สื่อโฆษณา , การวางแผนการดำเนินชีวิต
-  สืบค้นข้อมูล และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของละครสั้น
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
- นักเรียนคิดว่าการสื่อสารหรือถ่ายทอดข้อมูลจากคนหนึ่งให้กับอีกคนหนึ่ง มีปัจจัยใดบ้างเข้ามาเกี่ยวข้อง?”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- เล่นเกม ต่างสื่อ ต่างสาร
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- วิเคราะห์ใบงาน แสดงทัศนะคติต่อการดำเนินชีวิต การวางแผนชีวิต
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้ และปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิตจากคลิปรายการ
- สรุปความเชื่อมโยงที่ได้ในรูปแบบ Mind Mapping
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ, อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง,สื่อโฆษณา, การวางแผนการดำเนินชีวิต
- นำเสนอสิ่งที่ได้ในรูปแบบละคร
- อภิปรายเกมสิ่งที่ได้จากเกม ต่างสื่อ ต่างสาร
- วิเคราะห์ใบงานโดยแสดงทัศนคติเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต และการวางแผนชีวิต

ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิต
- ละครสั้น
- ใบงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
ความเชื่อมโยงและปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับความเชื่อมโยงและปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
- การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบ การแสดงละครสั้น
- การนำเสนอทัศนะคติของตนเองต่อการดำเนินชีวิต
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

Week
input
Process
Output
Outcome




         8
โจทย์
- การเล่นเกมและกีฬาที่ถูกต้องตามกฎกติกา
- วางแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าตนเอง เหมาะสมกับการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพให้ดียิ่งขึ้นในรูปแบบใด
- นักเรียนคิดว่าการออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว เพียงพอกับการพัฒนาสมรรถภาพด้านร่างกายของตนเองแล้วหรือไม่อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็น เกี่ยวกับกางแผนและการปฏิบัติเพื่อพัฒนาสมรรถภาพด้านร่างกายของตนเอง

 Flow Chart
ความเชื่อมโยงและปัจจัยด้านต่างๆที่มีควบคู่กับการออกกำลังกาย

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปการออกกำลังกายแบบ แอโรบิค
- เกม ประเภทเกมกีฬา
- สนามกีฬา
- ตาชั่ง
- มาตรวัดส่วนสูง
-ใบงาน กีฬาและกติกา
- ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง พร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- เปิดคลิปวีดีโอการออกกำลังกาย แอโรบิค และร่วมกันทำกิจกรรม เต้นแอโรบิค
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นในการออกกำลังกาย โดยการเต้นแอโรบิค
- นักเรียนคิดว่าตนเอง เหมาะสมกับการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพให้ดียิ่งขึ้นในรูปแบบใด?”
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับ วิธีการออกกำลังและการวางแผนสุขภาพของตนเองเพื่อพัฒนาสมรรถภาพตามวัย
- ออกแบบและนำเสนอตารางออกกำลังกาย
- ออกกำลังกายตามตารางกิจกรรมของตนเอง อย่างต่อเนื่อง พร้อมบันทึกผลในตารางที่ออกแบบ
 - นักเรียนคิดว่าการออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว เพียงพอกับการพัฒนาสมรรถภาพด้านร่างกายของตนเองแล้วหรือไม่อย่างไร?”
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถาม
- นำเสนอความเชื่อมโยงและปัจจัยด้านต่างๆที่มีควบคู่กับการออกกำลังกายในรูปแบบ Flow Chart
- เล่นเกม ประเภทเกมกีฬา
- จัดหมวดหมู่ของประเภทเกมและกีฬาที่ได้จากกิจกรรม
- นักเรียนจับฉลาก จับคู่ และร่วมกันออกแบบเกมหรือกีฬาพร้อมกติกา ที่ใช้สำหรับกิจกรรมนี้
- วางแผน สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- นำเพื่อนเล่นกิจกรรมที่ได้ออกแบบ และอภิปรายร่วมกัน
เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
- วิเคราะห์ใบงาน กีฬาและกติกา ให้นักเรียนแต่ละคน
ภาระงาน
- ร่วมพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตเห็นในการออกกำลังกาย โดยการเต้นแอโรบิค
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ วิธีการออกกำลังและการวางแผนสุขภาพของตนเองเพื่อพัฒนาสมรรถภาพตามวัย
- ออกแบบตารางออกกำลังกายให้เหมาะสมกับเกณฑ์สุขภาพสำหรับตนเอง
- เขียน Flow Chartความเชื่อมโยงและปัจจัยด้านต่างๆที่มีควบคู่กับการออกกำลังกาย
- ร่วมเล่นเกมและวิเคราะห์สิ่งที่ได้จากกิจกรรม ประเภทเกมกีฬา
- ร่วมจัดหมวดหมูประเภทกีฬาและเกม
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกมและกีฬา
- ออกแบบและนำเสนอกิจกรรม เกมหรือกีฬา
ชิ้นงาน
- ตารางวางแผนการพัฒนา
สมรรถภาพ
- Flow Chart ความเชื่อมโยงและปัจจัยด้านต่างๆที่มีควบคู่กับการออกกำลังกาย
- ชาร์ตภาพ  Time Line ,ภาพเรื่องราว หรือ Power point ความเป็นมาและกติกาของเกม กีฬา
- กิจกรรมเกมหรือกีฬา รูปแบบใหม่
-ใบงาน กีฬาและกติกา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
การเล่นเกมและกีฬาที่ถูกต้องตามกฎกติกา รวมถึงการวางแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ ให้สมกับวัย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับความเชื่อมโยงและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
- การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบ ชาร์ตภาพ  Time Line ,ภาพเรื่องราว หรือ Power point
- การออกแบบและนำเสนอกิจกรรม เกมหรือกีฬาในรูปแบบใหม่ ตามจินตนาการตาม
ข้อมูลที่สืบค้น
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน


Week
input
Process
Output
Outcome




       9
โจทย์
- ทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
- ดนตรี
- นาฏศิลป์

Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าแต่ละภาพที่ได้ดู ศิลปินต้องการสื่อความหมายอะไร
- หัวใจสำคัญของงานศิลปะที่มองผ่านรูปแบบทัศนศิลป์ คืออะไร
- นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความหมายของคำเหล่านี้ ในรูปแบบงานศิลป์ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็น เกี่ยวกับการใช้ทัศนศิลป์ช่วยสะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมและความแตกต่างของศิลปะในแขนงต่างๆ


ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
- คลิปการแสดง หุ่นละครเล็ก โจหลุยส์
- ภาพวาดศิลปะ
- ฉลากคำสื่อความหมาย อาทิเช่น  ชีวิต  ความงาม  ความจริง  ความรัก ฯลฯ
- ดูและวิเคราะห์คลิปการแสดง หุ่นละครเล็ก โจหลุยส์ให้นักเรียนดู ซึ่งเกี่ยวกับการถ่ายความงามด้านนาฏศิลป์ผ่านหุ่นกระบอก
- “จากการแสดงที่ได้ดูนักเรียนรู้สึกและสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอความคิดเห็น
- ดูภาพวาดศิลปะต่างๆ 
- นักเรียนคิดว่าแต่ละภาพที่ได้ดู ศิลปินต้องการสื่อความหมายอะไร?”
-นักเรียนแต่ละคนนำเสนอความคิดเห็นและเขียนแสดงทัศนะคติของตนเองที่มีต่อศิลปินในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ฉลากและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ ดังนี้   ทัศนศิลป์ ,  ดนตรี  ,นาฏศิลป์
-  กลุ่มสืบค้นและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบการแสดง
 - อภิปรายร่วมกัน
 - หัวใจสำคัญของงานศิลปะที่มองผ่านรูปแบบทัศนศิลป์ คืออะไร?”
-นักเรียนแต่ละคนร่วมนำเสนอความคิดเห็น
- จับฉลากเลือกคำเพื่อสื่อความหมาย อาทิเช่น  ชีวิต  ความงาม  ความจริง  ฯลฯ
- นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความหมายของคำเหล่านี้ ในรูปแบบงานศิลป์ได้อย่างไร?” (งานปั้น  , งานวาด , ดนตรี ,นาฏศิลป์)
- ออกแบบงานศิลป์ของตนเองและนำเสนอ
-วิเคราะห์ใบงาน ความเข้าใจทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ดนตรี และ นาฏศิลป์ให้นักเรียนแต่ละคน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- วิเคราะห์คลิปการแสดง หุ่นละครเล็ก โจหลุยส์
- จับฉลากและสืบค้นข้อมูลพร้อมนำเสนอ ทัศนศิลป์ , ดนตรี  ,นาฏศิลป์
- จับฉลากเลือกคำวิเคราะห์ความหมายเพื่อสร้างงานศิลป์ อาทิเช่น  ชีวิต  ความงาม  ความจริง  ความรัก ฯลฯ
- นำเสนองานศิลป์และทำใบงานเกี่ยวกับความเข้าใจทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ดนตรี และ นาฏศิลป์

ชิ้นงาน
- การแสดงถ่ายทอด ทัศนศิลป์ ,  ดนตรี  ,นาฏศิลป์
- งานศิลป์ สื่อความหมายของคำ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
ความหมายของทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมและความแตกต่างของศิลปะในแขนงต่างๆ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับความหมายของทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมและความแตกต่างของศิลปะในแขนงต่างๆ
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
- การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นด้าน ทัศนศิลป์ ,  ดนตรี  ,นาฏศิลป์ในรูปแบบการแสดง
- การสื่อความหมายของคำผ่านงานศิลป์ที่ตนเองชื่นชอบ
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน