7
|
โจทย์
-
ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
-
ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์
Key Question
-
นักโบราณคดี ทราบได้อย่างไรว่าสิ่งของที่ขุดค้นพบ มีอายุเท่าไร
และเกิดขึ้นในยุคสมัยใด
-
นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีทางประวัติศาสตร์ของนักโบราณคดี
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบัน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด
- internet
- บรรยากาศในห้องเรียน
-
คลิปรายการ “ศิลปะตามยุคสมัย”
- ใบงาน “ยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์”
|
จันทร์
ชง
:
ครูเปิดคลิปรายการ “ศิลปะตามยุคสมัย”
ซึ่งเกี่ยวกับ
งานศิลปะที่ถ่ายทอดผ่านการตกแต่งอุปกรณ์เครื่องใช้ของคนในสมัยยุคประวัติศาสตร์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าแนวคิดและศิลปะของคนในสมัยประวัติศาสตร์มีลักษณะเป็นอย่างไร?”
เชื่อม
:
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ชง
:
นักเรียนคิดว่า
“นักโบราณคดี
ทราบได้อย่างไรว่าสิ่งของที่ขุดค้นพบ มีอายุเท่าไร และเกิดขึ้นในยุคสมัยใด?”
เชื่อม
:
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละเท่าๆกันและตัวแทนกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้อ
ดังนี้ ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
, ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
, เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันรัตนโกสินทร์
พุธ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลในหัวข้อที่ได้รับ
และนำเสนอในรูปแบบต่างๆที่สนใจ
ชง : ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร?”
พฤหัสบดี
เชื่อม
:
นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดในรูปแบบบทความลงในกระดาษ
A4
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็กและ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ใช้ : ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
ศุกร์
- นักเรียนทำใบงานเกี่ยวกับ “ยุคสมัยต่างๆ
และเหตุการณ์สำคัญของ กรุงรัตนโกสินทร์
เชื่อม : นักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับใบงานและความเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ
และสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปรายการ “ศิลปะตามยุคสมัย”
-
สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ หัวข้อต่างๆที่ได้รับ อาทิเช่น ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์ ,ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เขียนบทความเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่ส่งผลกับวิถีการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบัน
- วิเคราะห์ใบงาน
เกี่ยวกับยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์”
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานนำเสนอ ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย , เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
- ใบงานเกี่ยวกับ
“ยุคสมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์”
บทความ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- ยุคสมัยและวิธีการหาข้อมูลต่างๆทางประวัติศาสตร์
-
ลักษณะภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
- เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
การคิดวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับ ยุคสมัยและวิธีการหาข้อมูลต่างๆทางประวัติศาสตร์ ลักษณะภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยและเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการสืบค้น
ข้อมูลเพื่อใช้ในการร่วมเรียนรู้กับผู้อื่น
ทักษะความคิดสร้างสรรค์
การนำเสนอสิ่งที่ได้สืบค้นในรูปแบบต่างๆที่แต่ละกลุ่มสนใจ
คุณลักษณะ
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
|
บันทึกหลังการเรียนรู้
ตอบลบต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้ว คุณครูได้ฝากการบ้าน พี่ๆ ม.3 (Flip your classroom) โดย มีโจทย์ให้ 2 ข้อ คือ "พี่ๆคิดว่านักโบราณคดีทราบได้อย่างไรว่าวัตถุที่ถูกค้นพบมีอายุเท่าไหร และมีการตรวจสอบอย่างไร ?" และข้อที่ 2 จะได้สืบค้นตามความสนใจ มี 3 ข้อย่อย คือ ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์ , ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย , เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันรัตนโกสินทร์
หลังจากที่ได้สืบค้นข้อมูลพี่ๆ แต่ละคนก็สรุปเป็นชิ้นงานตามความสนใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรูปแบบแผ่นชาร์ตข้อมูลประกอบภาพ หลักจากแต่ละกลุ่มได้นำเสนอข้อมูล เราก็ได้สรุปร่วมกัน เกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบอายุของวัตถุโบราณ โดยพี่ฟ้า( วรรณ ) สรุปให้ฟังว่า มันเกิดจากการนำ คาร์บอน 14(C-14) ไปตรวจสอบ โดยการวัดค่าความเข้มแสง ที่ได้จากนั้นก็พูดคุยกันเกี่ยวกับเหตุณ์การสำคัญและการเสียดินแนให้กับต่างประเทศของประเทศไทย หลังจากจบการอภิปรายร่วมกัน คุณครูได้เปิดคลิป VDO การเสียดินแดนของประเทศไทยให้พี่ๆ ม.3ได้ร่วมเรียนรู้ และเห็นความเป็นมามากยิ่งขึ้น หลายคน ถามว่า"ทำไมเราต้องยอมเสียดินแดนถึง 14 ครั้ง"แต่ก็ได้คำตอบหลังจากที่ดูคลิปนี้จบลงค่ะ จากนั้นก็ร่วมพูดคุยสิ่งที่ได้ดู และสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์